Exercise Mechanics
-
Structures and Idiosyncrasies Different Individuals = Different Executions (ต่างคน ต่างวิธีการ ตอนที่ 2)
เราได้เห็นความแตกต่างด้านโครงสร้างที่ส่งผลต่อ ระยะการเคลื่อนไหว ประสิทธิภาพการออกแรง และ ลักษณะกล้ามเนื้อ ที่อาจแตกต่างกันไปได้ในแต่ละบุคคล ในตอนนี้เราจะลองมาดูความแตกต่างที่เป็นองค์รวมมากขึ้น โดยหัวข้อหลักๆนั้นคือ สัดส่วนทางร่างกายที่แตกต่างกัน ทำให้วิธีการออกกำลังแตกต่างกัน ทำไมคนสองคนจึง Squat ไม่เหมือนกัน และรู้สึกถึงกลุ่มกล้ามเนื้อที่ใช้งานไม่เหมือนกัน (Squat Proportion) เทคนิคบางเทคนิค สามารถใช้ได้ผลกับทุกคนจริงหรือไม่?…
-
Structures and Idiosyncrasies (ความแตกต่างด้านโครงสร้างในแต่ละบุคคล ตอนที่ 1)
ผู้เขียนตั้งใจให้เกิดความตระหนักถึงอัตลักษณ์ของแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกันไป ซึ่งสามารถส่งผลต่อ การออกกำลังกาย การเคลื่อนไหว และ การจัดการกับแรงที่กระทำจากภายนอกด้วยวิธีที่ไม่เหมือนกัน การสังเกต ประเมิน ทดลอง และเคารพในสิ่งที่แต่ละบุคคลมี จึงจะเรียกได้ว่าเป็นการ Personalization อย่างแท้จริง
-
More Than Choreography (ท่าออกกำลังกายแบบไหนที่ไม่มีประสิทธิภาพ?)
ผู้คนส่วนมากมักจะจำแค่ลักษณะการเคลื่อนไหว แต่กลับมองข้ามสิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะเป็นตัวบ่งบอกถึง ประสิทธิภาพและผลลัพธ์ ของการเคลื่อนไหวนั้น นั่นก็คือ “ทิศทางของแรงต้าน” การจำชื่อท่าออกกำลังกายและเคลื่อนไหวโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยแรงต้าน จึงไม่ต่างจากการจดจำท่าเต้นท่าหนึ่ง
-
Resistance Direction and Who’s on the Team? (ทำไมทิศทางแรงต้านจึงสำคัญ?)
สิ่งนี้ชี้ให้เห็นว่า การเคลื่อนไหวของข้อต่อ (Motion) ไม่ได้บ่งบอกว่า กลุ่มกล้ามเนื้อใดทำหน้าที่หลักในการ “สู้” กับแรงต้าน แต่เป็นทิศทางจากแรงต้านนั้นที่เป็นสิ่งสำคัญในการกำหนด
-
Joint Integrity, Its Essentials and Strategic Maneuvers (ความสำคัญของข้อต่อและการจัดการอาการบาดเจ็บ)
คำถามสำคัญเมื่อมองในมุมของความคุ้มค่า (Risk-Reward) ของการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกล้ามเนื้อ (Hypertrophy) หรือ พละกำลัง (Strength) ที่มักมองข้ามเรื่องของข้อต่อ (Joint) ที่อาจส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บในระยะยาว (และสูญเสียมวลกล้ามเนื้อส่วนใหญ่) และส่งผลกระทบต่อความสำคัญของคุณภาพชีวิตโดยรวมในที่สุด
-
3 Lever Classes in Human Body (Why it doesn’t matter) vs. The Application of Gym Equipment Analysis (ตอนที่ 2)
ความเห็นส่วนตัวของผู้เขียนมีความเห็นว่า การนำเรื่อง “ระบบคานสามแบบ (3 Lever Classes)” มาประยุกต์ใช้ในโลกของการออกกำลังกายได้อย่างค่อนข้างชัดเจนและเป็นรูปธรรม คงจะเป็นในเรื่องการนำมาวิเคราะห์เครื่องออกกำลังกาย ซึ่งในแต่ละแบรนด์จะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป อันส่งผลต่อกลไก การได้เปรียบเสียเปรียบระหว่าง แรง Effort และ แรง Resistance ซึ่งในแต่ละแบรนด์ที่อาจจะแตกต่างกันได้ตั้งแต่ เล็กน้อย…
-
3 Lever Classes in Human Body (Why it doesn’t matter) vs. The Application of Gym Equipment Analysis (ตอนที่ 1)
จุดหมุน = ข้อต่อที่กล้ามเนื้อที่เรากำลังพิจารณาอยู่พาดไปเกาะ นั้นถูกเปลี่ยนให้กลายเป็น ปุ่มโคนหัวแม่เท้า และ กลายเป็นนิ้วเท้า ประเด็นนี้ผู้เขียนจึงอยากชี้ให้เห็นถึงหลักความไม่แน่นอนในการกำหนดจุดหมุน และความกำกวม ของการนำระบบคานในเครื่องกลอย่างง่าย มาเทียบเป็นระบบคานในร่างกายมนุษย์
-
Plane of Motion, Multiplanar Training, and Confusion (ตอนที่ 2)
ประโยชน์ที่มักถูกอ้างถึงเมื่อออกกำลังกายและวางโปรแกรมด้วย “มุมมองแบบระนาบ” (Planar Lens) มาจากความเชื่อที่ว่าการออกกำลังกายโดยปกติแล้วเกิดขึ้นใน Sagittal Plane เป็นสัดส่วนที่มากกว่าใน plane อื่นๆอย่างมาก (ท่าออกกำลังกายที่เกิดใน Sagittal Plane เช่น Lunge Squat, Leg Extension,…
-
Plane of Motion, Multiplanar Training, and Confusion (ตอนที่ 1)
เราควรกำหนด Plane ให้กับท่าออกกำลังกายหรือไม่? หากการเคลื่อนไหวกลับเกิดขึ้นที่จุดหมุนเดิมของ Joint นั้นๆ แต่มีการเปลี่ยน Plane โดยเป็นผลมาจากความคลุมเครือของวิธีการกำหนด Plane
Phaitus
Phaitus เป็นผู้รักการออกกำลังกาย ที่มีความสนใจเป็นพิเศษในด้านของกลไกการเคลื่อนไหวของมนุษย์ กายวิภาค Exercise Mechanics รวมถึงการพัฒนาตนเองในทุกๆด้านของชีวิต โดยมีความเชื่อว่าการออกกำลังกายที่มีประสิทธิภาพจะต้องคำนึงถึงความหลากหลายอันเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละบุคคลเป็นสำคัญ และการออกกำลังกายโดยนำหลักฟิสิกส์มาประยุกต์ใช้จะเป็นเสมือนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาร่างกาย ซึ่งจะส่งผลต่อจิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดีได้อย่างยั่งยืน